การดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ออมทรัพย์ฯ ที่ควรรู้

1. ธุรกิจรับฝากเงิน

ประเภทเงินฝาก  ระยะเวลาที่คิดดอกเบี้ย   หมายเหตุ
 เงินฝากออมทรัพย์  - คิดดอกเบี้ยปีละ 2 ครั้ง (มี.ค. และ ก.ย.)  -
 เงินฝากออมทรัพย์ พิเศษ  - คิดดอกเบี้ยปีละ 4 ครั้ง (มี.ค., มิ.ย., ก.ย., ธ.ค.)  -
 เงินฝากประจำ 6 เดือน  - คิดดอกเบี้ยเมื่อครบรอบ การฝากทุก 6 เดือน  - หักภาษีดอกเบี้ย ฝากประจำ
 เงินฝากประจำ 12 เดือน  - คิดดอกเบี้ยเมื่อครบรอบ การฝากทุก 12 เดือน  -หักภาษีดอกเบี้ย ฝากประจำ

 

 

2. ธุรกิจการให้เงินกู้

ประเภทเงินกู้

เงื่อนไขในการกู้เงิน
หมายเหตุ
จำนวนเงินกู้ได้
(บาท)
ผู้ค้ำประกัน
(คน)
สำรองเงินเดือน
(%)
ทุนเรือนหุ้น
(%)
รายงวดที่ส่ง
(งวด)
 1. เงินกู้ฉุกเฉิน







 

 3 เท่าของเงินเดือน
แต่ไม่เกิน 100,000 บาท





 -








 10%








 ไม่น้อยกว่า
10,000
บาท





 30








 1) ผู้กู้ต้องเป็นสมาชิก
ไม่น้อยกว่า 6 เดือน
2) ผู้กู้ต้องมีทุนเรือนหุ้น
ไม่น้อยกว่า 10,000 บาท
3) ส่งชำระได้ 3 งวด
สามารถกู้ได้อีก
 2. เงินกู้สามัญ










































 

2.1 กู้ไม่เกิน
300,000 บาท

2.2 กู้ไม่เกิน
550,000 บาท

2.3 กู้ไม่เกิน
800,000 บาท

2.4 กู้ไม่เกิน
2,500,000 บาท

































 

2 คน


3 คน


4 คน


5 คน


































 

15%


15%


15%


10%


































 

20%
ของวงเงินกู้

25%
ของวงเงินกู้

25%
ของวงเงินกู้

20%
ของวงเงินกู้

































 

120 งวด



120 งวด



120 งวด



120 งวด



































 

- ข้อ 2.1-2.4 เมื่อส่งชำระ
ครบ 6 งวด สามารถกู้
ได้อีก

- พนักงานราชการกู้ได้
ไม่เกิน 10 เท่าของเงินเดือน
แต่ไม่เกิน 50,000 บาท
และต้องชำระหนี้
เป็นรายเดือนเท่ากัน
พร้อมดอกเบี้ยให้เสร็จสิ้น
ภายในระยะเวลาการอยู่
ในตำแหน่งตามสัญญา
ว่าจ้าง มีหลักเกณฑ์ใน
การค้ำประกัน ดังนี้
1) ข้าราชการเงินเดือน
ต่ำกว่า 13,680 บาท และ
ลูกจ้างประจำเงินเดือน
ต่ำกว่า 10,000 บาท
ค้ำประกันผู้กู้ได้ 3 คน
2) ข้าราชการเงินเดือน
13,680 บาท ขึ้นไป
หรือลูกจ้างประจำเงิน
เดือน 10,000 บาทขึ้นไป
ค้ำประกันผู้กู้ได้ 4 คน
3) ข้าราชการเงินเดือน
20,000 บาทขึ้นไป
ค้ำประกันผู้กู้ได้ 5 คน

ประเภทเงินกู้ เงื่อนไขในการกู้เงิน สำรอง
เงินเดือน
ระยะเวลา
ที่ส่งชำระ
เอกสาร / หลักฐาน
ประกอบการกู้
หมายเหตุ
3. เงินกู้สามัญ
เพื่อซื้อสินค้า












- เป็นการขอกู้เพื่อซื้อ
สินค้า เช่น
1) รถจักรยานยนต์
2) รถจักรยาน
3) คอมพิวเตอร์
4) เครื่องใช้ไฟฟ้า
5) กล้องดิจิตอล
- ใช้คนค้ำประกัน 1 คน
- เงินต้นและดอกเบี้ย
จะเท่ากันทุกเดือน
(แล้วแต่สินค้าที่ซื้อ)
- สหกรณ์จะเริ่มหัก
เงินเดือนงวดแรกคือ
เดือนที่รับสินค้า
15%













12-24
งวด












- ทำสัญญาเงินกู้สามัญ
เอกสารเหมือนการ
ขอกู้ทั่วไป











4. กู้ทุน
เรือนหุ้น
กู้ได้ไม่เกินร้อยละ 90
ของเงินหุ้น
90%
ของหุ้น
-


-


- มีหุ้นเป็นหลัก
ประกันไม่ต้อง
มีคนค้ำประกัน
 5. เงินกู้สามัญ
พิเศษ
5.1 สินเชื่อเพื่อ
การเคหะ
วงเงินกู้ไม่เกิน
15,000,000 บาท
(สิบห้าล้านบาท)













































 

1) ซื้อบ้านพร้อมที่ดิน
หรือทาวน์เฮาส์ ห้องชุด
2) ปลูกสร้างบ้านบนที่ดิน
กรรมสิทธิ์ของผู้กู้
3) ไถ่ถอนจำนองบ้าน
พร้อมที่ดินจาก
สถาบันการเงิน
4) ไถ่ถอนจำนองบ้าน
พร้อมที่ดินจาก
สถาบันการเงิน
พร้อมปรับปรุง-ต่อเติม
5) ผู้กู้ต้องเป็นสมาชิก
ไม่น้อยกว่า 6 เดือน
6) มีทุนเรือนหุ้นไม่น้อย
กว่า 5% ของวงเงินกู้
สินเชื่อเพื่อการเคหะ

ขั้นตอนการกู้
1) ยื่นคำขอกู้เงินพิเศษ
พร้อมเอกสาร หลักฐาน
ประกอบการกู้ให้ครบ
2) ชำระค่าธรรมเนียม
ประเมินหลักประกัน
ทุกกรณีสินเชื่อเคหะ
กับบริษัทที่สหกรณ์
กำหนด
3) เมื่ออนุมัติเงินกู้
สหกรณ์แจ้งสมาชิก
เพื่อทำนิติกรรม
4) นัดวันเวลาตรวจสอบ
ทรัพย์สิน
5) การจ่ายเงินกู้ จ่ายเมื่อ
ทำนิติกรรมครบถ้วนแล้ว
และกรณีกู้เพื่อสร้างบ้าน
จ่ายเงินเป็นงวดๆ ตาม
ผลการก่อสร้าง
6) ชำระค่าธรรมเนียม
จากการไปดำเนินการของ
กรรมการ/จนท.ในวัน
สำรวจและจดจำนอง
ตลอดจนชำระ
ค่าธรรมเนียมการตรวจ
สอบผลงานก่อสร้าง

 12%
บวก
เงิน
ประจำ
ตำแหน่ง

















































 360
งวด
หรือ
ตามอายุ
ราชการ
ที่เหลือ
บวกด้วย
5 ปี














































 1) สำเนาบัตรประชาชน/
บัตรข้าราชการของผู้กู้/
คู่สมรส
2) สำเนาทะเบียนบ้านของผู้กู้/คู่สมรส
3) สำเนาทะเบียนสมรส
ใบหย่า ใบเปลี่ยนชื่อ/สกุล (ถ้ามี)
4) ใบแจ้งยอดเงินเดือน
(เดือนสุดท้ายก่อนยื่นกู้)
5) สำเนาเอกสารสิทธิที่ดิน
(โฉนดที่ดิน, นส.3ก,
เอกสารสิทธิ์ห้องชุด
ฯลฯ) ขนาดเท่าต้นฉบับ
6) ผังโครงการ, แผ่นพับ
โบชัวร์ของโครงการ
แผนที่ที่ตั้งที่ดิน
โดยสังเขป
7) หนังสือรับรองราคา
ประเมินจากบริษัทที่
สหกรณ์กำหนด
กรณีสร้างบ้านมีเอกสาร
เพิ่มดังนี้
- ใบอนุญาตปลูกสร้าง
อาคารจากราชการ
- สำเนาแบบแปลนการ
ก่อสร้าง (พิมพ์เขียว)
กรณีไถ่ถอนจำนองมีเอกสาร
เพิ่มดังนี้
1) สัญญากู้เงินจากสถาบัน
การเงินนั้น
2) หลักฐานการผ่อนชำระ
หนี้และยอดหนี้คงเหลือ
3) หลักฐานการเป็น
เจ้าของกรรมสิทธิ์ใน
อาคาร เช่น สัญญาการ
ซื้อขาย (ท.ด.13) คำขอ
เลขที่บ้าน















 - การสำรอง
เงินเดือนประเมิน
รายได้ 6 เดือน
ย้อนหลัง
- อัตราดอกเบี้ย
และค่าธรรมเนียม
อาจเปลี่ยนแปลง
ได้ตามประกาศ
ของสหกรณ์
- การคิดระยะเวลา
ในการผ่อนส่ง
คำนวณจากอายุ
ราชการที่เหลือ
+ 5 ปี
- ทำประกันชีวิต
และประกัน
อัคคีภัยกับบริษัท
ที่สหกรณ์กำหนด




























 5.2 สินเชื่อ-
รถยนต์
วงเงินกู้ไม่เกิน
2,000,000 บาท
(สองล้านบาท)

















 1) เป็นสมาชิกสามัญ
ไม่น้อยกว่า 6 เดือน
2) ใช้สมาชิกค้ำประกัน
2 คน
3) ทำประกันภัยรถยนต์
ชั้น 1 โดยสหกรณ์เป็น
ผู้รับผลประโยชน์ 2 ปี
4) คู่มือทะเบียนรถยนต์เป็น
ชื่อของสหกรณ์ออมทรัพย์ฯ
และเก็บไว้ที่สหกรณ์
2 ปี เมื่อสมาชิกชำระ
เงินกู้ครบจะโอนกรรมสิทธิ์
มาเป็นของสมาชิก
5) ทำประกันเงินกู้
(กรมธรรม์ประกัน 8 ปี)
6) เปิดสมุดคู่ฝาก
 12%
(เงินเดือน
+เงิน
ประจำ
ตำแหน่ง)

















 100
งวด





















 1) ใบกู้สามัญพิเศษระบุ
เพื่อซื้อรถยนต์
2) สำเนาสลิปเงินเดือน
(เดือนล่าสุด)
3) สำเนาบัตรประจำตัว
ผู้กู้และคู่สมรส
4) สำเนาทะเบียนสมรส/
สำเนาใบหย่า/สำเนา
ใบมรณบัตร














 - การทำประกันภัย
รถยนต์ทำกับ
บริษัทใดก็ได้
- ทำประกันเงินกู้
กับบริษัทที่
สหกรณ์กำหนด















 5.3 สินเชื่อ
รถยนต์
มือสอง















 - เงื่อนไขทุกอย่าง เช่นเดียว
กันกับซื้อรถยนต์ใหม่
มีเพิ่มเติม ดังนี้
1) สมาชิกต้องเข้าประมูล
รถยนต์มือสองกับบริษัท
ที่เคยได้จัดประมูลรถยนต์
มือสอง เช่น ทิสโก้
ธนชาต โตโยต้าดีเยี่ยม
และทราบราคา
2) สมาชิกจะกู้สินเชื่อนี้ได้
สมาชิกต้องมีความสามารถ
ในการผ่อนชำระ
 12%

















 

100
งวด

















 

- หลักฐานเช่นเดียวกัน
กับการขอกู้สินเชื่อ
รถยนต์
- หลักฐานเช่นเดียวกันกับ
การขอกู้สินเชื่อรถยนต์















คุกกี้และนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล

เว็ปไซต์นี้ใช้คุกกี้เพื่อวัตถุประสงค์ในการปรับปรุงประสบการณ์ของผู้ใช้ และช่วยให้สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ อุบลราชธานี จำกัด สามารถพัฒนาคุณภาพของเว็ปไซต์ให้ดียิ่งขึ้น ท่านสมาชิกสามารถศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมที่ นโยบายคุกกี้